การกำกับดูแลกิจการที่ดี
บริษัท ดิทโต้ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
การกำกับดูแลกิจการที่ดี
ด้วยการยึดมั่นในหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ
บริษัท ดิทโต้ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) มุ่งมั่นที่จะสร้างองค์กรที่แข็งแกร่ง มีความโปร่งใส
และเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างคุณค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า และสังคม
สร้างคุณค่าให้แก่ผู้ถือหุ้น พนักงาน ลูกค้า และสังคม
นโยบายการกำกับดูแลกิจการ
คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความสำคัญต่อการปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี โดยครอบคลุม
หลักปฏิบัติตามหลักการกำกับดูแลกิจการ (Corporate Govemance) 8 หลักปฏิบัติ ดังนี้
หลักปฏิบัติ 1 บทบาทและความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
หลักปฏิบัติ 2 วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักของบริษัท
หลักปฏิบัติ 3 เสริมสร้างคณะกรรมการที่มีประสิทธิผล
หลักปฏิบัติ 4 สรรหาและพัฒนาผู้บริหารระดับสูงและการบริหารบุคลากร
หลักปฏิบัติ 5 ส่งเสิริมนวัตกรรมและการประกอบธุรกิจอย่างมีความรับผิดชอบ
หลักปฏิบัติ 6 ดูแลให้มีระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในที่เหมาะสม
หลักปฏิบัติ 7 รักษาความน่าเชื่อถือทางการเงินและการเปิดเผยข้อมูล
หลักปฏิบัติ 8 สนับสนุนการมีส่วนร่วมและการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น
บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วน ได้เสียทั้งภายในและ ภายนอกองก์กรแจ้งเบาะแสการประพฤติผิดหรือ
ข้อร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับ การประพฤติผิดจริยธรรมเละจรรยาบรรณทางธุรกิจ ระบบควบคุมภายในที่บกพร่อง
การกระทำที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ รามถึงการทุจริต การคอร์รัปชั่น การฉัอโกง หรือการตบแต่งงบการเงิน โดยบริษัทฯ จะจัดช่องทางการแจ้งเบ าะแสการประพฤติผิด
หรือขี้อร้องเรียนรวมถึงระบบการบริหารจัดการ การรับแจ้งเบาะแสการประพฤติผิดหรือข้อร้องเรียนที่เหมาะสม
เพื่อตอบสนองต่อเบาะแสการประพฤติผิดหรือข้อร้องเรียนที่ได้รับอย่างรวดเร็วและทันกาล
เพื่อให้สอดกล้องกับกฎเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้ง
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และประกาศคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำของ
นโยบายและแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างที่ ผู้ประกอบการต้องจัดให้มีตามมาตรา 19 แห่ง
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่
8 สิงหาคม 2561 โดยจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 เป็นต้นไป ซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบการที่จะเข้าร่วม
การเสนอราคากับหน่วยงานรัฐในโครงการที่มีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ 500 ล้านบาทขึ้นไป ต้องจัดให้มึนโยบาย
และแนวทางการป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างที่เหมาะสมและระบุเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน โดยต้องจัด
ให้มีการสื่อสารหรือนโยบายและแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างให้กับคณะกรรมการ ผู้บริหาร พนักงาน
และผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับบริษัทให้รับทราบ…
เพื่อให้สอดคล้องกับประกาศคณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต เรื่องมาตรฐานขั้นต่ำของ
นโยบายและแนวทางป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างที่ผู้ประกอบการต้องจัดให้มีตามมาตรา 19 แห่ง
พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2561 โดยจะมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2562 เป็นต้นไป ซึ่งกำหนดให้
ผู้ประกอบการที่จะเข้าร่วมการเสนอราคากับหน่วยงานรัฐในโครงการที่มีวงเงินในการจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่
500 ล้านบาทขึ้นไป ต้องจัดให้มีนโยบายและแนวทางการป้องกันการทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้างที่เหมาะสมและ
ระบุเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน…